วันจันทร์, ธันวาคม ๒๔, ๒๕๕๐

ดาวเทียมที่ไทยสามารถรับสัญญาณได้

ดาวเทียม AsiaSat - 2


หน่วยงาน: Asia Satellite Telecommunication Comp.
ประเทศเจ้าของ: จีน (ฮ่องกง)
ชื่อดาวเทียม: AsiaSat-2
วัตถุประสงค์: เพื่อใช้ประโยชน์ด้านการสื่อสาร
ชนิดของดาวเทียม: Lockheed Martin: AS-7000
น้ำหนัก: 3,379 กิโลกรัม
การปล่อยดาวเทียม: ถูกปล่อยเข้าสู่วงโคจรโดยจรวด CZ-2E
เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2538
วงโคจร: Geostationary Orbit ที่ตำแหน่ง 100.5 องศาตะวันออก
อุปกรณ์ทวนสัญญาณย่าน C แบนด์ รวม 24 ช่อง
กำลังส่งช่องละ 55 วัตต์
อุปกรณ์ทวนสัญญาณย่าน Ku แบนด์ รวม 8 ช่อง
กำลังส่งช่องละ 115 วัตต์
พื้นที่ให้บริการ: ทั่วทวีปเอเซีย



ดาวเทียม NSS-6


หน่วยงาน: New Skies ประเทศเจ้าของ: เนเธอแลนด์
ชื่อดาวเทียม: NSS-6
วัตถุประสงค์: เพื่อใช้ประโยชน์ด้านการสื่อสาร
ชนิดของดาวเทียม: Lockheed Martin: A2100AX
น้ำหนัก: 4,700 กิโลกรัม
การปล่อยดาวเทียม: ถูกปล่อยเข้าสู่วงโคจรโดยจรวด Ariane-44L เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2545
วงโคจร: Geostationary Orbit ที่ตำแหน่ง 95.0 องศาตะวันตก
อายุใช้งาน: 14 ปี
อุปกรณ์:
อุปกรณ์ทวนสัญญาณย่าน Ku แบนด์ รวม 50 ช่อง มีอุปกรณ์ Ka แบนด์ เพื่อใช้เป็นช่องสัญญาณขาขึ้น
พื้นที่ให้บริการ:

ดาวเทียม Thaicom-2


หน่วยงาน: Shinawatra Computer and Communication Comp. (SC&C)
ประเทศเจ้าของ: ไทย
ชื่อดาวเทียม: Thaicom-2
วัตถุประสงค์: เพื่อใช้ประโยชน์ด้านการสื่อสาร
ชนิดของดาวเทียม: Hughes: HS-376L
น้ำหนัก: 629 กิโลกรัม
ขนาด: เล้นผ่านศูนย์กลาง 2.16 เมตร สูง 2.8 เมตร
เมื่อกางออกจะสูง 6.6 เมตร
กำลังไฟฟ้า: 700 วัตต์
การปล่อยดาวเทียม: ถูกปล่อยเข้าสู่วงโคจรโดยจรวด
Ariane-44L เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2537
วงโคจร: Geostationary Orbit ที่ตำแหน่ง 78.5 องศาตะวันออก
อายุใช้งาน: 13.5 ปี
อุปกรณ์ทวนสัญญาณย่าน C แบนด์ รวม 10 ช่อง
(มีสำรองเพิ่ม 2 ช่อง) กำลังส่งช่องละ 11 วัตต์
อุปกรณ์ทวนสัญญาณย่าน Ku แบนด์ รวม 2 ช่อง
(มีสำรองเพิ่ม 1 ช่อง) กำลังส่งช่องละ 47 วัตต์
พื้นที่ให้บริการ:

ย่าน C แบนด์ เอเซียตะวันออกเฉียงใต้

ย่าน Ku แบนด์ ประเทศไทย


ดาวเทียม Measat-1


หน่วยงาน: Binariang Sdn. Bhd. ประเทศเจ้าของ: มาเลเซีย
ชื่อดาวเทียม: Measat-1
วัตถุประสงค์: เพื่อใช้ประโยชน์ด้านการสื่อสาร
ชนิดของดาวเทียม: Hughes: HS-376 มีจุดเด่น 3 ประการคือ
1. โซล่าเซลล์ให้พลังงานสูงกว่าความต้องการใช้งาน 40%
2. ใช้สายอากาศรุ่นใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงและน้ำหนักเบา
3. ใช้เชื่อเพลิงจรวด 2 ชนิดแทนการใช้แบบชนิดเดียว
ทำให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นในการรักษาตำแหน่งและวง
โคจรของดาวเทียมและมีอายุการใช้งานยาวนานขึ้น
น้ำหนัก: 1,450 กิโลกรัม
กำลังไฟฟ้า: 1,200 วัตต์
การปล่อยดาวเทียม: ถูกปล่อยเข้าสู่วงโคจรโดยจรวด Ariane-44L
เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2539
วงโคจร: Geostationary Orbit ที่ตำแหน่ง 91.5 องศาตะวันออก
อายุใช้งาน: 12 ปี
อุปกรณ์ทวนสัญญาณย่าน C แบนด์ รวม 12 ช่อง
กำลังส่งช่องละ 12 วัตต์
อุปกรณ์ทวนสัญญาณย่าน Ku แบนด์ รวม 5 ช่อง
กำลังส่งช่องละ 112 วัตต์
พื้นที่ให้บริการ:
พื้นที่ให้บริการย่าน C แบนด์

พื้นที่ให้บริการย่าน Ku แบนด์ ครอบคลุม ประเทศมาเลเซีย อินเดีย และฟิลิปปินส์


ดาวเทียม AsiaStar


หน่วยงาน: WorldSpace Corp ประเทศเจ้าของ: สหรัฐอเมริกา
ชื่อดาวเทียม: Asiastar
วัตถุประสงค์: เพื่อใช้ประโยชน์ด้านการสื่อสาร
ชนิดของดาวเทียม: Astrium: Eurostar-2000+
น้ำหนัก: 2,750 กิโลกรัม
การปล่อยดาวเทียม: ถูกปล่อยเข้าสู่วงโคจรโดยจรวด Ariane-5G เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2543
วงโคจร: Geostationary Orbit ที่ตำแหน่ง 105.0 องศาตะวันออก
อายุใช้งาน:
อุปกรณ์: อุปกรณ์ทวนสัญญาณย่าน L แบนด์ เพื่อส่งสัญญาณเสียงแบบดิจิตัล
พื้นที่ให้บริการ:

ไม่มีความคิดเห็น: